ประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ในเขตพื+นที-จังหวัดระนอง

ภิรมย์พร เยาดำ

Abstract


     การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาระดับประสิทธิภาพและปัจจัยส่วนบุคคลทีมีผลต่อประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ในเขตพืนทีจังหวัดระนอง กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานระบบ (GFMIS)ของส่วนราชการผู้เบิกเงินจากคลังจังหวัดระนอง จำนวน 144 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก(Convenience sampling) เครืองมือทีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสถิติทีใช้คือ ร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน t – test, F – test, และ ANOVA

     ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ในภาพรวมทัง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความรวดเร็วเป็นปัจจุบันและทันต่อการตัดสินใจ, ด้านความถูกต้องแม่นยำ, ด้านความโปร่งใสและด้านความประหยัดค่าใช้จ่ายตามลำดับ2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง ระยะเวลาการปฏิบัติงานในระบบ GFMISและประสบการณ์การเข้ารับการอบรมระบบ GFMIS ของหัวหน้าส่วนราชการและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานระบบ GFMIS ทีต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS) ไม่แตกต่างกัน และ 3) ปัญหาและอุปสรรค พบว่า ขันตอนมากเกินไป ยังมีข้อจำกัดในการใช้งานผ่านเครือข่าย Intranet ระบบช้าทำให้การปฏิบัติงานช้าไปด้วย ผู้บริหารไม่สามารถเข้าใจรายงานจากระบบGFMIS ผู้ปฏิบัติงานจริงในระบบมิได้อบรม ผู้ปฏิบัติขาดทักษะด้านบัญชี แนวทางในการเพิมประสิทธิภาพและข้อเสนอแนะอืนๆ พบว่า ควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนือง ควรเพิมเจ้าหน้าทีช่วยงานในระบบ ควรพัฒนาระบบ GFMIS ให้มีการตรวจสอบความถูกต้องในการบันทึกรายการในแต่ละระบบงานและควรตัดเอกสารบางตัวออกบ้าง

คำสำคัญ  ประสิทธิภาพ, ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์


Full Text:

Untitled

Refbacks

  • There are currently no refbacks.