การศึกษาหาระยะเวลาการคงอยู่ลายนิ้วมือแฝงบนพลาสติก 3 ประเภทโดยใช้วิธีซุปเปอร์กลูในสภาวะแวดล้อมแตกต่างกัน

สมจารี คันธชาติกุล

Abstract


งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาระยะเวลาการคงอยู่ของรอยลายนิ้วมือแฝงที่ปรากฏบนขวดพลาสติก ด้วยการใช้วิธีซุปเปอร์กลูและการปัดฝุ่นโดยใช้ผงฝุ่นสีดำหาลายนิ้วมือแฝงและเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบลายนิ้วมือแฝงบนพลาสติกประเภท Polyethylene Terephthalate,High Density Polyethylene,Polystyrene Polypropyleneในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน  โดยศึกษาจากขวดพลาสติกตามท้องตลาดจำนวน 5 ชนิด มาทำการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงที่ช่วงระยะเวลาต่างๆ กัน 10 ช่วงเวลา คือ 1 ชั่วโมง  3 ชั่วโมง  6 ชั่วโมง  1 วัน  3 วัน  5 วัน  7 วัน  2 สัปดาห์  3 สัปดาห์ และ4 สัปดาห์  โดยนับจำนวนจุดที่การปรากฏขึ้นของรอยลายนิ้วมือแฝงบนพลาสติก

                ผลการศึกษาพบว่า วิธีซุปเปอร์กลู (Super Glue) สามารถตรวจหาลายนิ้วมือแฝงได้บนพลาสติกทุกประเภทแต่ปรากฏลายนิ้วมือแฝงไม่ครบทุกช่วงเวลา เมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบการปรากฏขึ้นของลายนิ้วมือแฝงของที่จัดเก็บไว้ในอุณหภูมิห้องและที่โล่งแจ้ง  ด้วยวิธี Independent t-test    พบว่าที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 การตรวจเก็บลายนิ้วมือแฝงบนขวดพลาสติก ทั้ง 2 สถานที่ มีการปรากฏขึ้นของรอยลายนิ้วมือแฝงไม่แตกต่างกัน


Keywords


ลายนิ้วมือแฝง; ขวดพลาสติก

Full Text:

PDF

References


เจาะคลังแสงทบ.ตลาดอาวุธสงคราม (2553, 29 กันยายน).คมชัดลึก.สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม

,2554จาก http://www.oknation.net/blog/komchadluek/2010/09/29/entry-1.

ชนกพรหม์ สุคนธ์พันธุ์และคณะ. (2552). สารเคมีในชีวิตประจำวัน. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม

, 2011,จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร,คณะเภสัชศาสตร์,ภาควิชาเภสัชเคมี

Web site: http://www.pharm.su.ac.th/cheminlife/cms/index.php/kitchen-room/21-plastic.html.

ชาคริต สุวรรณจำรัส. (2546).การจำลองมาตรฐานการทดสอบขวดพลาสติกโดยใช้

คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม.ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชาตรี สนขุนทด. (2550). การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สำหรับสืบค้นตัว

บุคคลจากลายนิ้วมือ. ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการผลิต

ทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ไทพีศรีนิวัติ ภักดีกุล. (2545). หลักการสืบสวนสอบสวนและการพิสูจน์หลักฐานทางนิติ

วิทยาศาสตร์. ภาควิชานิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธวัชชัย อุดมอารยะ. (2549). การเปรียบเทียบกำลังอัดคอนกรีตโดยการบ่มด้วยวิธีการแช่น้ำการ ใช้กระสอบคลุมการใช้พลาสติกหุ้มและการบ่มด้วยสารเคมี. ปริญญาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

นวลจันทร์ทัศนชัยกุล. (2541). อาชญากรรม.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พรทิพย์การพิมพ์.

บุกราดน้ำมันเผารถยนต์ ร้านเครื่องเขียนดังเมืองบุรีรัมย์ (2554, 29 มีนาคม).ASTVผู้จัดการ

ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม,2554จาก

http://mgr.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9540000039662&CommentReferID=18577870&CommentReferNo=1&.

ประเทืองธนิยผล. (2538). อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา.กรุงเทพฯ . แสงจันทร์การพิมพ์.

พรสวรรค์ รัตนะมูล ปานทิพย์ รอดสังข์และพนา มณเฑียรอาจ. (2540). ศึกษาคุณภาพของ

พลาสติกโพลีโพรพีลีนจากผลิตภัณฑ์ที่ใช้บรรจุอาหาร. คณะวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ไพศาล นาคพิพัฒน์. (ม.ป.ป.). โพลิเอทิลีน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่ม 28.

สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม, 2554, จาก

http://guru.sanook.com/encyclopedia/พลาสติกในชีวิตประจำวัน/

ภัทรียา ฐานิสโร. (2541). เทคนิคการปรับปรุงวิธีการจำแนกลายนิ้วมืออัตโนมัติ.

ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สวลี ลิมป์รัชตวิชัย. (2540). การหาระยะเวลานานที่สุดที่สามารถตรวจเก็บลายนิ้วมือแฝง

ด้วยผงฝุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขานิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สาวโคราชผวา หนุ่มเพี้ยนซิ่งจักรยานยนต์ไล่ฉีดน้ำเคมีเข้าตา (2552, 10 มิถุนายน).

siamsouth. สืบค้นเมื่อ 1กรกฎาคม,2554จาก

http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=6552.0;wap2...

สุดสงวนสุธีสร. (2534). อาชญากรรม.กรุงเทพฯ . สาขาสังคมสงเคราะห์ในกระบวนการ

ยุติธรรม. คณะสังคมสงเคราะห์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อัดสำเนา.

สมทรง ณ นคร และคณะ. (2547). แบบแผนลายนิ้วมือ จำนวนเส้นลายนิ้วมือทั้งหมดและ

จำนวนเส้นลายนิ้วมือเฉลี่ยในกลุ่มตัวอย่างประชากร. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมทรง ณ นคร, ไพบูลย์ มงคลถสวรชัย และแก้วใจ เทพสุธรรมรัตน์. (2548). แบบแผน

ลายนิ้วมือและจำนวนเส้นลายนิ้วมือเฉลี่ยในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย.

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

โสภาชปีลมันน์. (2537).อาชญากรรมปัญหาที่ควรแก้ไขในสังคมปัจจุบัน.กรุงเทพฯ :

ไทยวัฒนาพานิช.

สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม. (2552) รายงานข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาค

ประชาชนทั่วประเทศ พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ

ศิริพร เพ็ญเพียง. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบลายพิมพ์นิ้วมือกับฐานความผิด

ทางอาญา. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อรอนงค์ วงค์วิริยากร. (2551). การศึกษาลายพิมพ์นิ้วมือของบุคคลในครอบครัว. ปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อรรถพล แช่มสุวรรณวงศ์และคณะ. (2552). นิติวิทยาศาสตร์ 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน

(พิมพ์ครั้งที่ 6).กรุงเทพฯ: จี.บี.พี.เซ็นเตอร์.

เอกจิตตรา มีไชยธร. (2551). การปรากฏขึ้นของลายนิ้วมือแฝงบนกระดาษด้วยนินไฮดริน.

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Connor,CM. (1976). Collaborative study of accelerated development of latent

fingerprint images on paper by application of steam.Journal-Association of

Offical Analytical

Cummins,GeorgeH.andMidlo C. (1961). Finger Print,Palms and Soles. New York. Dover Publication.

Czekanskt P. FasolaM.and Allison J. (2549). A Mechanistic Model for the Superglue

Fuming of Latent Fingerprints.Journal of Forensic Science,51,1323-8.

Fingerprint. (2011). Retrieved June 20, 2011,fromhttp://en.wikipedia.org/wiki/Fingerprint

Fingerprint Analysis. (2552). Retrieved July 1, 2011,from Spring Harbor Environmental Magnet Middle School Wed site: http://www.ropascienceresearch.com/csifinger.htm.

The Fingerprint Society. (2010). The History of Fingerprint. Retrieved June18, 2011,

fromhttp://www.onin.com/fp/fphistory.html.

Gustavson K.,ModrzewskaK.andSjoquist.K (1994). Dermatoglyphic in individuals with

asocial behavior. Upsala Journal of Medical Sciences,99 , 63-67.

Homkrajang,Phatararat. (2005). Study of Appropriate Concentration of Ninhydrin for Latent Fingerprints on Various Papers. Bangkok. Mahidol University.

Kunkel ,W-C., Lennard ,C., Stoilovic, M, & Roux, C. (2004). Detection and

Enhancement of Latent Fingermarks on Porous Surfaces. Journal of Forensic

Identification,2007 , 14-26

Lawrence C. (2011). Lifting Fingerprints with Powders and Chemicals. Retrieved

S.E. Smith. (2011). What are Latent Fingerprints?. Retrieved June 20, 2011,

fromhttp://www.wisegeek.com/what-are-latent-fingerprints.htm

Shashank N. (2010). Fingerprinting Techniques. Retrieved

June 20, 2011,fromhttp://www.buzzle.com/articles/fingerprinting-techniques.html

winloecoe .( 2552). Recycle Product .Retrieved June18, 2011,from

http://gieducation.wordpress.com/2552/05/06/recycle-product/.

Wiriyachaiyakun C. (2005). Application of Super Glue Fuming Technique to the

Development of latent fingerprints in Thailand.Mahidol University.

June 20, 2011,fromhttp://www.bxscience.edu/publications/forensics/articles/

fingerprinting/f-fing03.htm


Refbacks

  • There are currently no refbacks.