วัฒนธรรมครอบครัวไทใหญ่ : กรณีศึกษาผู้สูงอายุ หมู่บ้านสบรวก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Abstract
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) วัฒนธรรมครอบครัวไทใหญ่ หมู่บ้านสบรวก
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ 2) วัฒนธรรมครอบครัวกับการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุไทใหญ่ หมู่บ้านสบรวก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุไทใหญ่ที่มีอายุ
ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในหมู่บ้านสบรวก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวนทั้งสิ้น 29 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ประเด็นผลการวิเคราะห์ข้อมูล วัฒนธรรมครอบครัวไทใหญ่ผ่านมุมมองการบอกเล่าของผู้สูงอายุ สรุปประเด็นหลัก เกี่ยวกับวัฒนธรรมครอบครัว 4 ประเด็นประกอบด้วย การเริ่มต้นครอบครัว การดำเนินชีวิตครอบครัว การสร้างสัมพันธ์กับชุมชน และ การจากไปของสมาชิกครอบครัว
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กนกวรรณ เพียงเกต. (2541). “บทบาทของผู้สูงอายุในการดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่” วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กรกมล บำรุงวัด. (2545). “ การศึกษาวิถีชีวิตผู้สูงอายุ: ศึกษาเฉพาะผู้สูงอายุในจังหวัดสมุทรปราการ” วิทยานิพนธ์หลักสูตรสังคมสงเคราะห์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นภาพร ชโวรรณ. (2542). “สถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในปัจจุบัน” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการแห่งชาติด้วยผู้สูงอายุ: สู่วัยสูงอายุด้วยคุณภาพ หน้า 15-18. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (2551). 30 ชาติ ในเชียงราย (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: ศยาม.
พิมุข ชาญธนะวัฒน์. (2546). การปรับปรนเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทใหญ่ กรณีศึกษา ชาวไทใหญ่หมู่บ้านถํ้าลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
พูนสุข เวชวิฐาน. (2557). ทฤษฎีครอบครัวเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
เฟื่องฟ้า ลัยมณี. (2545). การปรับปรนวิถีชีวิต ของชาวไทใหญ่ : กรณีศึกษาหมู่บ้านนาหวาย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่. ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.
ปวีณา ราชสีห์. (2555). “ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการเรียนรู้ ของแรงงานข้ามชาติ ชาวไทใหญ่”. วิชาเอกการศึกษานอกระบบวิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
เล้หล้า ตรีเอกานุกูล. (2549). “การปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมไทยและผลกระทบของการถูกจำกัดสิทธิ์ที่มีต่อคุณภาพชีวิตของบุคคลไร้สัญชาติ ชาวไทยใหญ่ จังหวัดเชียงราย” ปรัชาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วัฒนธรรมไทย. (2551). คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: นวสาส์นการพิมพ์.
วัฒนธรรมในครอบครัว. (2557). สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 15,2557 จาก http://www.trueplookpanaya.com/new/cms_detail/knowledge/1379-00/2667.
สุภางค์ จันทวานิช. (2555). วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
สุพัตรา สุภาพ. (2534). สังคมและวัฒนธรรมไทย ค่านิยม : ครอบครัว : ศาสนา : ประเพณี (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเะทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุทัศน์ กันทะมา. (2542). การคงอยู่ของวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหญ่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศูนย์ไทใหญ่ศึกษา. วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน. (2557). สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 26, 2557 จาก http://wwwTaiyai.org/index.php?name=resume, 2557).
เอกสารสนับสนุนโครงการการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา. (2551). “ไทใหญ่”. ความเป็นใหญ่ในชาติพันธุ์ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Griswold,W. (1987). A Methodological Framework for Sociology of Culture. In Clogg, Chifford C. (ed), Sociological Methodology, pp.1-35.San Francisco:Josssey-Bass
Refbacks
- There are currently no refbacks.